วันจันทร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557

หลักสูตรการทอพรมยกดอก

 
หลักสูตรการทอพรมยกดอก  จำนวน 50 ชั่วโมง

กลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์



ความเป็นมา 

การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข่งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก“ ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งคั่งและมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประปาชนและประเทศชาติ

สภาพสังคมในปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ทรัพยากรมีน้อยลง จึงมีความจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น โดยเฉพาะด้านการดำรงชีพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนนอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพื่อเป็นการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแล้ว ยังมีสิ่งที่ถือว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพื่อบริโภคประจำวัน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มนุษย์เราจะต้องสร้างขึ้นหรือหามาทดแทนโดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อการอยู่รอด 

การทอพรมยกดอกเป็นแนวคิดและการพัฒนาผลิตสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อเป็นการช่วยส่งเสริมเอาชีพให้กับประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้รู้วิธีการขั้นตอนการทอพรมยกดอกในรูปแบบต่างๆ วิธีการทำทอพรมยกดอกและเป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า ซึ่งวัสดุที่นำมาทอพรมยกดอกเป็นวัสดุที่นำมาจากธรรมชาติ นอกจากนั้นยังสามารถนำไปจำหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัว

หลักการ

1. เป็นหลักสูตรที่เน้นการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ที่เน้นการบูรณาการเนื้อหาสาระภาคทฤษฏีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพได้จริงอย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรมจริยธรรม

2. เป็นหลักสูตรที่เน้นการดำเนินงานร่วมเครือข่าย สถานประกอบการ เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการศึกษาดูงาน

3.เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถนำผลการเรียนรู้ไปเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชีพ

4. เป็นหลักสูตรที่เน้นการใช้ศักยภาพ 5 ด้านในการประกอบอาชีพ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากร ภูมิอากาศ ภูมิประเทศและทำเลที่ตั้ง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิต และด้านทรัพยากรมนุษย์

จุดหมาย  เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้

1. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง

2. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม

3. มีเจตคติที่ดีในการประกอบอาชีพ

4. มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. มีโครงการประกอบอาชีพเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน

1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ
2. ผู้มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ

ระยะเวลา 50 ชั่วโมง
ทฤษฎี 20 ชั่วโมง ปฏิบัติ 30 ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร

1. ช่องทางการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
     1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชีพ
     1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
     1.3 แหล่งเรียนรู้
     1.4 การตัดสินใจในการเลือกอาชีพ

2. ทักษะการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
    2.1 ขั้นเตรียมการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
    2.2 การทอพรมยกดอกในรูปแบบต่างๆ
    2.3 บรรจุภัณฑ์การทอพรมยกดอก

3. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
    3.1 การบริหารจัดการทอพรมยกดอก
    3.2 การจัดการตลาดในการทอพรมยกดอก
    3.3 การจัดการความเสี่ยง
    3.4 การวางแผนการดำเนินงาน

4. โครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
     4.1 ความสำคัญของโครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
     4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
     4.3 องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการทอพรมยกดอก
     4.4 การเขียนโครงการการทอพรมยกดอก
     4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการการทอพรมยกดอก

การจัดกระบวนการเรียนรู้

     - ศึกษาข้อมูลจากเอสาร/ภูมิปัญญา
     - การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
     - แลกเปลี่ยนเรียนรู้
     - ฝึกปฏิบัติจริง

สื่อการเรียนรู้

      1. ศึกษาเอกสาร / ใบความรู้
      2. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน /วิทยากร /ภูมิปัญญาท้องถิ่น

การวัดและประเมินผล

      1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร
      2. การประเมินผลงานการปฏิบัติระหว่างเรียนความสำเร็จของการปฏิบัติและจบหลักสูตร

การจบหลักสูตร

      1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
      2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
      3. มีผลงานการประเมินทดสอบที่มีคุณภาพตามหลักเกณฑ์การทอพรมยกดอก อย่างน้อย 5 ชนิด

เอกสารหลักฐานการศึกษา

       ประกาศนียบัตรการศึกษา ออกโดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

การเทียบโอน

        ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้นในระดับใดระดับหนึ่ง


อ้างอิงภาพเคลื่อนไหวจาก http://www.youtube.com

หลักสูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง

หลักสูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง  จำนวน 50 ชั่วโมง
กลุ่มวิชาอาชีพเกษตรกรรม


ความเป็นมา

การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข่งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก “ ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งคั่งและมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประปาชนและประเทศชาติ 
             
 สภาพสังคมในปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่งทรัพยากรมีน้อยลง จึงมีความจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของการประกอบอาชีพด้านการเกษตร มีความจำเป็นที่จะต้องใช้ประโยชน์จากการประกอบอาชีพให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น 

อาชีพการเพาะเห็ดฟาง จึงเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่จะเป็นทางเลือกในการสร้างรายได้โดยการใช้วัสดุเหลือใช้ ในการประกอบอาชีพมาสร้างรายได้และการมีงานทำอย่างยั่งยืนของประชาชน

หลักการ

การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา อาชีพเพื่อการมีงานทำ กำหนดหลักการไว้ดังนี้

1.เป็นหลักสูตรที่เน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ 5 ด้าน ได้แก่ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละประเทศ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่

2. มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพทั่งถึงและเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่งคง และเป็นบุคคลที่มีวินัยเปรี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม

3.ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย

4. เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปประกอบอาชีพให้เกิดรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในอาชีพส่งเสริมให้มีการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จุดหมาย

           เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการเพาะเห็ดฟางเป็นอาชีพได้

กลุ่มเป้าหมาย

           กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน

1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ
2. ผู้มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ

ระยะเวลา 50 ชั่วโมง

ทฤษฎี 20 ชั่วโมง ปฏิบัติ 30 ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร

1.ช่องทางการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
    1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
    1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
          1.2.1 ความต้องการของตลาด
          1.2.2 การใช้แรงงาน
          1.2.3 การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์
          1.2.4 การเลือกทำเลที่ตั้ง
    1.3 แหล่งเรียนรู้
    1.4 การตัดสินใจในการเลือกอาชีพ

2.ทักษะการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
   2.1 ขั้นเตรียมการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
         2.1.1 สถานที่/พื้นที่
         2.2.2 การเตรียมวัสดุ
         2.2.3 การทำอาหารเสริมเห็ด
         2.2.4 ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
   2.2 ขั้นเพาะเห็ดฟางได้
   2.3 ขั้นตอนการดูแลโรคเห็ดเพื่อการจำหน่ายหรือบริโภค

3.การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
   3.1 การบริหารจัดการการเพาะเห็ดฟาง
         3.1.1 การจัดการควบคุมคุณภาพในการเพาะเห็ดฟาง
         3.1.2 การลดต้นทุนในการเพาะเห็ดฟาง
         3.1.3 การวางแผนการผลิต
   3.2 การจัดการตลาดในการเพาะเห็ดฟาง
         3.2.1 การทำฐานข้อมูลลูกค้า
         3.2.2 การกระจายเห็ดฟางไปสู่ผู้บริโภค
         3.2.3 การวางแผนการตลาด
   3.3 การจัดการความเสี่ยง
         3.3.1 การวิเคราะห์ศักยภาพในการเพาะเห็ดฟาง
                  1) การเลือกฤดูผลิต
                  2) ค่าใช้จ่ายในการเพาะเห็ดฟาง
                  3) ผลกำไรที่ได้จากการเพาะเห็ดฟาง
                  4) คู่แข่งขัน
        3.3.2 การวางแผนการจัดการความเสี่ยง
   3.4 การวางแผนการดำเนินงาน

4.โครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
    4.1 ความสำคัญของโครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
    4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
    4.3 องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการเพาะเห็ดฟาง
    4.4 การเขียนโครงการการเพาะเห็ดฟาง
    4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการการเพาะเห็ดฟาง

การจัดกระบวนการเรียนรู้

- ศึกษาข้อมูลจากเอสาร/ภูมิปัญญา
- การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ฝึกปฏิบัติจริง

สื่อการเรียนรู้

ในการจัดการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล ภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น

การเทียบโอน

ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น

การวัดและประเมินผล

1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร
2. การประเมินผลงานการปฏิบัติระหว่างเรียนความสำเร็จของการปฏิบัติและจบหลักสูตร

การจบหลักสูตร

1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

เอกสารหลักฐานการศึกษา

      ประกาศนียบัตรการศึกษา ออกโดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


อ้างอิงภาพเคลื่อนไหวจาก http://www.youtube.com

หลักสูตรการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา


หลักสูตรการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา จำนวน 50 ชั่วโมง

กลุ่มวิชาเศรษฐกิจสร้างสรรค์


ความเป็นมา

การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข่งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก “ ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งคั่งและมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประปาชนและประเทศชาติ

สภาพสังคมในปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ มีการแข่งขันทางด้านการค้า เป็นอย่างมาก ทำให้ในการดำเนินการทางด้านการค้ามีการแข่งขันกันมากขึ้นเศรษฐกิจยิ่งมีการแข่งขันกันมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีการพัฒนารูปแบบการจัดจำหน่ายในรูปแบบต่างๆ มากขึ้นเท่านั้น ตลอดจนต้องมีการพัฒนาทางด้านการผลิตให้มีคุณภาพยิ่งขึ้นไป

อาชีพการทำปลาแปรรูป จึงเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่จะเป็นทางเลือกในการสร้างรายได้โดยการใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ ในการประกอบอาชีพมาสร้างรายได้และการมีงานทำอย่างยั่งยืนของประชาชน

หลักการ

การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา อาชีพเพื่อการมีงานทำ กำหนดหลักการไว้ดังนี้

1.เป็นหลักสูตรที่เน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ 5 ด้าน ได้แก่ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละประเทศ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่

2. มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพทั่งถึงและเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่งคง และเป็นบุคคลที่มีวินัยเปรี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม

3.ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย

4. เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปประกอบอาชีพให้เกิดรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในอาชีพส่งเสริมให้มีการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จุดหมาย
      เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ ในการปลาแปรรูปเป็นอาชีพได้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน

1.ผู้ที่ไม่มีอาชีพ
2. ผู้มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ
 
ระยะเวลา 100 ชั่วโมง
ทฤษฎี 40 ชั่วโมง ปฏิบัติ 60 ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร

1.ช่องทางการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา

    1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา

    1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา
          1.2.1 ความต้องการของตลาด
          1.2.2 การใช้แรงงาน
          1.2.3 การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์
          1.2.4 การเลือกทำเลที่ตั้ง

    1.3 แหล่งเรียนรู้
    1.4 การตัดสินใจในการเลือกอาชีพ

2.ทักษะการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา

    2.1 ขั้นเตรียมการประกอบอาชีพการแปรูปปลา
          2.1.1 สถานที่/พื้นที่
          2.2.2 การเตรียมวัสดุ
          2.2.3 การทำปลาแปรรูป
          2.2.4 ความรู้ที่เกี่ยวข้องในการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา

    2.2 ขั้นทำปลาแปรรูปได้

    2.3 ขั้นตอนการเก็บรักษาเพื่อการจำหน่ายหรือบริโภค

3.การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา
 
    3.1 การบริหารจัดการการแปรรูปปลา
          3.1.1 การจัดการควบคุมคุณภาพในการแปรรูปปลา
          3.1.2 การลดต้นทุนในการแปรรูปปลา
          3.1.3 การวางแผนการผลิต

    3.2 การจัดการตลาดในการแปรรูปปลา
          3.2.1 การทำฐานข้อมูลลูกค้า
          3.2.2 การกระจายปลาแปรรูปไปสู่ผู้บริโภค
          3.2.3 การวางแผนการตลาด
          3.2.4 การออกแบบบรรจุภัณฑ์
 
    3.3 การจัดการความเสี่ยง
          3.3.1 การวิเคราะห์ศักยภาพในการแปรรูปปลา
                   1) การเลือกฤดูผลิต
                   2) ค่าใช้จ่ายในการแปรรูปปลา
                   3) ผลกำไรที่ได้จากการแปรรูปปลา
                   4) คู่แข่งขัน

         3.3.2 การวางแผนการจัดการความเสี่ยง

   3.4 การวางแผนการดำเนินงาน

4.โครงการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา

    4.1 ความสำคัญของโครงการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา
    4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการแปรรูปปลา
    4.3 องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการแปรรูปปลา
    4.4 การเขียนโครงการการแปรรูปปลา
    4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการการแปรรูปปลา

การจัดกระบวนการเรียนรู้

- ศึกษาข้อมูลจากเอสาร/ภูมิปัญญา
- การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ฝึกปฏิบัติจริง

สื่อการเรียนรู้

ในการจัดการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล ภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น

การเทียบโอน

ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น

การวัดและประเมินผล

1.การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร

2.การประเมินผลงานการปฏิบัติระหว่างเรียนความสำเร็จของการปฏิบัติและจบหลักสูตร

การจบหลักสูตร

1.มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2.มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

เอกสารหลักฐานการศึกษา

ประกาศนียบัตรการศึกษา ออกโดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

อ้างภาพเคลื่อนไหวจาก http://www.youtube.com

หลักสูตรธุรกิจขนมไทย


หลักสูตรธุรกิจขนมไทย  จำนวน  50 ชั่วโมง
กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรมและบริการ
 
 
ความเป็นมา
               การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมากเพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข่งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก  ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งคั่งและมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประปาชนและประเทศชาติ

              สภาพสังคมในปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆแต่ทรัพยากรมีน้อยลง จึงมีความจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น โดยเฉพาะด้านการดำรงชีพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพื่อเป็นการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแล้วยังมีสิ่งที่ถือว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพื่อบริโภคประจำวัน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มนุษย์เราจะต้องสร้างขึ้นหรือหามาทดแทนโดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อการอยู่รอด

              ขนมไทย เป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติไทย มีความละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการทำที่พิถีพิถัน รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวนรับประทาน และเป็นขนมที่มีความเกี่ยวข้องกับคนไทยมาแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การประกอบอาชีพธุรกิจขนมไทย เป็นอาชีพอิสระในการทำมาหากินและสร้างรายได้ให้กับตนเอง 

หลักการ

          1.เป็นหลักสูตรที่เน้นการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ที่เน้นการบูรณาการเนื้อหาสาระภาคทฤษฏีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติจริงผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพได้จริงอย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรมจริยธรรม

           2. เป็นหลักสูตรที่เน้นการดำเนินงานร่วมเครือข่าย สถานประกอบการ เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการศึกษาดูงาน

          3.เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถนำผลการเรียนรู้ไปเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชีพ

           4.เป็นหลักสูตรที่เน้นการใช้ศักยภาพ 5 ด้านในการประกอบอาชีพ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากร ภูมิอากาศ ภูมิประเทศและทำเลที่ตั้ง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิต และด้านทรัพยากรมนุษย์

 จุดหมาย

          เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้

          1. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง

          2. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม

          3. มีเจตคติที่ดีในการประกอบอาชีพ

          4. มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

          5. มีโครงการประกอบอาชีพเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

          กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน

1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ

2. ผู้มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ

ระยะเวลา   50  ชั่วโมง

            ทฤษฎี  20  ชั่วโมง  ปฏิบัติ  30  ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร

1.ช่องทางการประกอบอาชีพการทำขนม

          1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชีพ

          1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทำขนม

          1.3 แหล่งเรียนรู้

          1.4 การตัดสินใจในการเลือกอาชีพ

2.ทักษะการประกอบอาชีพการการทำขนม

          2.1 ขั้นเตรียมการประกอบอาชีพการทำขนม

          2.2 การทำขนม จำนวน 10 ชนิด

          2.3 บรรจุภัณฑ์ขนมไทย

3.การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการทำขนม

          3.1 การบริหารจัดการการทำขนม

          3.2 การจัดการตลาดในการทำขนม

          3.3 การจัดการความเสี่ยง

          3.4 การวางแผนการดำเนินงาน

4.โครงการประกอบอาชีพการทำขนม

          4.1 ความสำคัญของโครงการประกอบอาชีพการทำขนม

          4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการทำขนม

          4.3 องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการทำขนม

          4.4 การเขียนโครงการการทำขนม

          4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการการทำขนม

การจัดกระบวนการเรียนรู้

-         ศึกษาข้อมูลจากเอสาร/ภูมิปัญญา

-         การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้

-         แลกเปลี่ยนเรียนรู้

-         ฝึกปฏิบัติจริง

สื่อการเรียนรู้

1.       ศึกษาเอกสาร / ใบความรู้

2.       ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน /วิทยากร /ภูมิปัญญาท้องถิ่น

การวัดและประเมินผล

1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร

2. การประเมินผลงานการปฏิบัติระหว่างเรียนความสำเร็จของการปฏิบัติและจบหลักสูตร

การจบหลักสูตร

     1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

     2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

     3. มีผลงานการประเมินทดสอบที่มีคุณภาพตามหลักเกณฑ์การทำขนม อย่างน้อย 5 ชนิด

เอกสารหลักฐานการศึกษา

          ประกาศนียบัตรการศึกษา ออกโดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

การเทียบโอน

          ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้นในระดับใดระดับหนึ่ง
 
อ้างอิงรูปภาพจาก http://www.smeleader.com

หลักสูตรการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น


หลักสูตรการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

จำนวน  50 ชั่วโมง

กลุ่มวิชาความคิดสร้างสรรค์

ความเป็นมา


                  การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก   ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งคั่งและมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ


                สภาพสังคมในปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ทรัพยากรมีน้อยลง จึงมีความจำเป็น

ต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของการประกอบอาชีพด้านความคิดสร้างสรรค์ มีความจำเป็นที่จะต้องใช้ประโยชน์จากการประกอบอาชีพให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น

              อาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น จึงเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่จะเป็นทางเลือกในการสร้างรายได้และการมีงานทำอย่างยั่งยืนของประชาชน


หลักการของหลักสูตร

            การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา อาชีพเพื่อการมีงานทำ กำหนดหลักการไว้ดังนี้

               1.เป็นหลักสูตรที่เน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ 5 ด้าน ได้แก่ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละประเทศ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่

              2. มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพทั่งถึงและเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่งคง และเป็นบุคคลที่มีวินัยเปรี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม

              3.ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย

              4. เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปประกอบอาชีพให้เกิดรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในอาชีพส่งเสริมให้มีการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน


จุดหมาย

1.       เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจ เทคนิคการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น สามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้

2.       เพื่อให้ผู้เรียนสามารถออกแบบการมัดลาย การย้อมสี ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด

3.       เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอาชีพดั้งเดิมของบรรพบุรุษ

4.       เพื่อเป็นการสืบสานวัฒนธรรมการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

กลุ่มเป้าหมาย

          กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน

1.ผู้ที่ไม่มีอาชีพ

2. ผู้มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ

3.ควรเป็นผู้มีใจรักในการทอผ้าและมีความอดทน

ระยะเวลา   50  ชั่วโมง

            ทฤษฎี  15  ชั่วโมง  ปฏิบัติ  35  ชั่วโมง


โครงสร้างหลักสูตร

1.ช่องทางการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2  เส้น

1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2  เส้น

1.2ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2  เส้น

1.2.1การวางแผนและบริหารจัดการ

1.2.2แหล่งเงินทุนและการจัดหาเงินทุน

1.2.3ความต้องการของตลาด

1.2.4ช่องทางการจัดจำหน่าย

1.3ศึกษาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง

          1.3.1ศูนย์อนุรักษ์ผ้าไหม

          1.3.2สถานประกอบการเกี่ยวกับการทอผ้า

          1.3.3ร้านค้าหรือตัวแทนในการจำหน่ายผลผลิต

          1.3.4เครือข่ายกลุ่มทอผ้า

1.4การตัดสินใจในการเลือกอาชีพ

          1.4.1ความต้องการของตลาด

          1.4.2สถานประกอบการเครือข่าย กลุ่ม องค์กร ที่ประสบผลสำเร็จ






2.ทักษะการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2  เส้น

2.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

-ประวัติความเป็นมาวัฒนธรรมการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2 เส้น

          -กระบวนการและรูปแบบการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2  เส้น

          -ความสำคัญและประโยชน์ของการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2 เส้น       

2.2การเตรียมวัตถุดิบและส่วนประกอบ

          -ขั้นตอนในการเตรียมไหมสำหรับการทอ

          -การเลือกเส้นไหม

          -วัตถุดิบและส่วนประกอบ

2.3การฟอกไหม

          -วัตถุประสงค์ของการฟอกไหม

          -วัสดุและอุปกรณ์ของการฟอกไหม

          -ขั้นตอนการฟอก

          -ข้อควรระวังในการฟอกไหม                                

2.4การกวักไหม/การแกว่งไหม

          -จุดประสงค์ของการกวักไหม/การแกว่งไหม

          -วัสดุและอุปกรณ์

          -วิธีการกวักไหม/การแกว่งไหม

          -ข้อควรระวังในการกวักไหม/การแกว่งไหม

2.5การเตรียมเส้นไหมพุ่ง/ไหมยืน

          -ขั้นตอนการเตรียมเส้นไหมพุ่ง/ยืน

          -การออกแบบลวดลาย

          -การร้อยหลอดเล็กเป็นพวง

2.6การค้นเส้นไหม

          -จุดประสงค์ของการค้นไหม

          -วัสดุและอุปกรณ์

          -วิธีการค้นไหม

          -ข้อควรระวังในการค้นไหม

2.7การออกแบบลายและการย้อมสีไหม

          -วัสดุอุปกรณ์

          -วิธีการมัดลาย/ขั้นตอน/การย้อมสีไหม

          -ข้อควรระวังในการมัดลายและการย้อมสีไหม

          -การตรวจสอบความถูกต้องของลวดลาย


2.8การกรอเส้นไหมยืน/ไหมพุ่ง

          -จุดประสงค์ของการกรอไหม

          -วัสดุและอุปกรณ์

          -วิธี/ขั้นตอนการกรอไหม

          -ข้อควรระวังในการกรอไหม

2.9การม้วน/ปั่นไหม

          -จุดประสงค์ของการม้วน/ปั่นไหม

          -วัสดุและอุปกรณ์

          -วิธีการการม้วน/ปั่นไหม

          -ข้อควรระวังในการการม้วน/ปั่นไหม

2.10การเก็บตะกอ

          -จุดประสงค์ของการเก็บถักตะกอ

          -วัสดุและอุปกรณ์

          -วิธี/ขั้นตอนการเก็บตะกอ

          -ข้อควรระวังในการเก็บตะกอ

2.11การทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น        

          -ขั้นตอนการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2  เส้น

          -การเตรียมกี่

          -การนำหลอดพุ่งใส่กระสวย

          -การเหยียบตะกอ

          -การพุ่งกระสวย

          -การจัดลวดลายและแต่งริมขอบผ้า

          -การกระแทกฟืม

          -การขึงหน้าผ้าให้ตึง

          -การต่อเส้นไหมยืนและเส้นไหมพุ่งเมื่อเส้นไหมขาด

          -การปรับและปล่อยเส้นไหมยืน

          -การหวีเส้นยืนขณะทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

          -การเก็บกี่เมื่อหยุดพักการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2  เส้น

2.11การประยุกต์รูปแบบการขายเป็นผ้าแบบต่างๆที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างหลากหลาย

          -การทอผ้าคลุมไหล่

          -การทอผ้าพันคอ

          -การทอผ้ารูปแบบอื่นๆเช่น ผ้าปูโต๊ะ  ผ้าตกแต่งผนัง และอื่นๆ




3.การบริหารจัดการอาชีพ                                                                           

3.1การบริหารจัดการอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ  2 เส้น

3.1.1การดูแลรักษาคุณภาพของผ้า

3.1.2การลดต้นทุนในการผลิตของผ้า

3.1.3การเพิ่มมูลค่าสินค้า

          -การแปรรูป

          -การออกแบบ

          -การประยุกต์ใช้

3.2การจัดการตลาด

3.2.1การทำฐานข้อมูลลูกค้าที่ใช้บริการ/คู่แข่งทางการตลาด

3.2.2ประชาสัมพันธ์

3.2.3ส่งเสริมการขายและการบริการ

3.2.4การขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์

3.3การจัดการความเสี่ยง

3.3.1การวิเคราะห์ศักยภาพในการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

3.3.2แก้ปัญหาความเสี่ยงในการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

4.โครงการประกอบอาชีพ

4.1ความสำคัญของโครงการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

4.2ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

4.3องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

4.4การเขียนโครงการการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น

4.5การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการการทอผ้าพื้นเมืองแบบ 2 เส้น


การจัดกระบวนการเรียนรู้

1.ศึกษาข้อมูลจากเอสาร/ภูมิปัญญา

2.ฟังวิทยากรบรรยายให้ความรู้

3.การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้

4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้

5.ทำใบความรู้และใบงาน

6.ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง

7.ฝึกปฏิบัติจริงและทดสอบผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้





สื่อการเรียนรู้

          1.สื่อเอกสาร

          2.เอกสารประกอบการเรียนรู้

          3.ใบงาน

          4.ใบความรู้

          5.ภูมิปัญญา

          6.สถานประกอบ

การวัดและประเมินผล

1.การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร

2.การประเมินผลงานการปฏิบัติระหว่างเรียนความสำเร็จของการปฏิบัติและจบหลักสูตร

การจบหลักสูตร

1.มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบัติตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2.มีผลการประเมินผ่านตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3.มีผลงานที่มีคุณภาพจึงจะได้รับวุฒิบัตร

เอกสารหลักฐานการศึกษา

1.หลักฐานการประเมินผล

2.ทะเบียนคุมวุฒิบัตร

3.วุฒิบัตรออกโดยสถานศึกษา

การเทียบโอน
ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น


อ้างอิงภาพจาก http://www.openbase.in.th/node/5643 
อ้างภาพเคลื่อนไหวจาก http://www.youtube.com