หลักสูตรการทอพรมยกดอก จำนวน 50 ชั่วโมง
กลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นมา
การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข่งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก“ ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งคั่งและมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประปาชนและประเทศชาติ
สภาพสังคมในปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ทรัพยากรมีน้อยลง จึงมีความจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น โดยเฉพาะด้านการดำรงชีพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนนอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพื่อเป็นการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแล้ว ยังมีสิ่งที่ถือว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพื่อบริโภคประจำวัน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มนุษย์เราจะต้องสร้างขึ้นหรือหามาทดแทนโดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อการอยู่รอด
การทอพรมยกดอกเป็นแนวคิดและการพัฒนาผลิตสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อเป็นการช่วยส่งเสริมเอาชีพให้กับประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้รู้วิธีการขั้นตอนการทอพรมยกดอกในรูปแบบต่างๆ วิธีการทำทอพรมยกดอกและเป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า ซึ่งวัสดุที่นำมาทอพรมยกดอกเป็นวัสดุที่นำมาจากธรรมชาติ นอกจากนั้นยังสามารถนำไปจำหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัว
หลักการ
1. เป็นหลักสูตรที่เน้นการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ที่เน้นการบูรณาการเนื้อหาสาระภาคทฤษฏีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพได้จริงอย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรมจริยธรรม
2. เป็นหลักสูตรที่เน้นการดำเนินงานร่วมเครือข่าย สถานประกอบการ เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการศึกษาดูงาน
3.เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถนำผลการเรียนรู้ไปเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชีพ
4. เป็นหลักสูตรที่เน้นการใช้ศักยภาพ 5 ด้านในการประกอบอาชีพ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากร ภูมิอากาศ ภูมิประเทศและทำเลที่ตั้ง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิต และด้านทรัพยากรมนุษย์
จุดหมาย เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้
1. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มั่งคั่ง
2. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
3. มีเจตคติที่ดีในการประกอบอาชีพ
4. มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. มีโครงการประกอบอาชีพเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน
1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ
2. ผู้มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ
ระยะเวลา 50 ชั่วโมง
ทฤษฎี 20 ชั่วโมง ปฏิบัติ 30 ชั่วโมง
โครงสร้างหลักสูตร
1. ช่องทางการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชีพ
1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
1.3 แหล่งเรียนรู้
1.4 การตัดสินใจในการเลือกอาชีพ
2. ทักษะการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
2.1 ขั้นเตรียมการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
2.2 การทอพรมยกดอกในรูปแบบต่างๆ
2.3 บรรจุภัณฑ์การทอพรมยกดอก
3. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
3.1 การบริหารจัดการทอพรมยกดอก
3.2 การจัดการตลาดในการทอพรมยกดอก
3.3 การจัดการความเสี่ยง
3.4 การวางแผนการดำเนินงาน
4. โครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
4.1 ความสำคัญของโครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
4.3 องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการทอพรมยกดอก
4.4 การเขียนโครงการการทอพรมยกดอก
4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการการทอพรมยกดอก
การจัดกระบวนการเรียนรู้
ระยะเวลา 50 ชั่วโมง
ทฤษฎี 20 ชั่วโมง ปฏิบัติ 30 ชั่วโมง
โครงสร้างหลักสูตร
1. ช่องทางการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชีพ
1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
1.3 แหล่งเรียนรู้
1.4 การตัดสินใจในการเลือกอาชีพ
2. ทักษะการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
2.1 ขั้นเตรียมการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
2.2 การทอพรมยกดอกในรูปแบบต่างๆ
2.3 บรรจุภัณฑ์การทอพรมยกดอก
3. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
3.1 การบริหารจัดการทอพรมยกดอก
3.2 การจัดการตลาดในการทอพรมยกดอก
3.3 การจัดการความเสี่ยง
3.4 การวางแผนการดำเนินงาน
4. โครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
4.1 ความสำคัญของโครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการทอพรมยกดอก
4.3 องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการทอพรมยกดอก
4.4 การเขียนโครงการการทอพรมยกดอก
4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการการทอพรมยกดอก
การจัดกระบวนการเรียนรู้
- ศึกษาข้อมูลจากเอสาร/ภูมิปัญญา
- การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ฝึกปฏิบัติจริง
สื่อการเรียนรู้
1. ศึกษาเอกสาร / ใบความรู้
2. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน /วิทยากร /ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การวัดและประเมินผล
1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร
2. การประเมินผลงานการปฏิบัติระหว่างเรียนความสำเร็จของการปฏิบัติและจบหลักสูตร
การจบหลักสูตร
1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3. มีผลงานการประเมินทดสอบที่มีคุณภาพตามหลักเกณฑ์การทอพรมยกดอก อย่างน้อย 5 ชนิด
เอกสารหลักฐานการศึกษา
ประกาศนียบัตรการศึกษา ออกโดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การเทียบโอน
ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้นในระดับใดระดับหนึ่ง
อ้างอิงภาพเคลื่อนไหวจาก http://www.youtube.com
2. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน /วิทยากร /ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การวัดและประเมินผล
1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร
2. การประเมินผลงานการปฏิบัติระหว่างเรียนความสำเร็จของการปฏิบัติและจบหลักสูตร
การจบหลักสูตร
1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3. มีผลงานการประเมินทดสอบที่มีคุณภาพตามหลักเกณฑ์การทอพรมยกดอก อย่างน้อย 5 ชนิด
เอกสารหลักฐานการศึกษา
ประกาศนียบัตรการศึกษา ออกโดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การเทียบโอน
ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้นในระดับใดระดับหนึ่ง
อ้างอิงภาพเคลื่อนไหวจาก http://www.youtube.com